ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง : ศูนย์วิจัยกรุงศรี รายงานถึงตลาดรถยนต์ในปี 2561 ว่ามีปริมาณการจำหน่าย 4.8 แสนคัน เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าเป็นอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นถึง 20.5% ส่วนใหญ่มาจากการจำหน่ายรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์ต่ำกว่า 2,500 cc.(รถยนต์นั่งขนาดเล็กขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,500 cc.รวมอีโคคาร์)ที่ขยายตัวถึง 21.6%และขนาดเครื่องยนต์1,501-2,500 cc.โตขึ้น 20.4%
โดยแรงหนุนมาจาก
1) ความต้องการของผู้บริโภคบางส่วนที่ซื้อรถยนต์ในโครงการรถคันแรก (อีโคคาร์) ต้องการเปลี่ยนรถยนต์ใหม่หลังจากภาระหนี้หมดลงและรถยนต์เริ่มเสื่อมสภาพเมื่อมีอายุ 6-7 ปี
2) ค่ายรถยนต์เปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่เพื่อกระตุ้นตลาดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะรถ SUV (Sport Utility Vehicles) ซึ่งค่ายรถหันมาทำตลาดในเซ็กเมนต์ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 2,000 cc. มากขึ้น
ส่วนรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์มากกว่า 2,501 cc.หดตัว 21.1%เนื่องจากผู้บริโภคหันไปนิยมรถยนต์ที่มีขนาดเครื่องยนต์เล็กลงตามการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องยนต์ที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังขับเคลื่อนสูงขึ้น ซึ่งประหยัดพลังงานและมีราคาไม่สูง
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง
สำหรับยอดจำหน่ายรถยนต์นั่งโดยรวมช่วงเดือน ม.ค.-มี.ค. 2562 ยังเติบโต 10.8% อยู่ที่ 1.20 แสนคัน ขยายตัวดีในเกือบทุกขนาดเครื่องยนต์ ยกเว้นขนาดเครื่องยนต์ 1,801-2,000 cc.ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเทียบกับฐานสูงในช่วงเดียวกันของปีก่อน
อ่านต่อ >> กลยุทธ์การตลาดรถยนต์นั่ง
ภาพ : freepik
ตลาดรถยนต์นั ขยายตัวแรงต่อเนื่อง : ศูนย์วิจัยกรุงศรี รายงานถึงตลาดรถยนต์ในปี 2561 ว่ามีปริมาณการจำหน่าย 4.8 แสนคัน เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าเป็นอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นถึง 20.5% ส่วนใหญ่มาจากการจำหน่ายรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์ต่ำกว่า 2,500 cc.(รถยนต์นั่งขนาดเล็กขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,500 cc.รวมอีโคคาร์)ที่ขยายตัวถึง 21.6%และขนาดเครื่องยนต์1,501-2,500 cc.โตขึ้น 20.4%
โดยแรงหนุนมาจาก
1) ความต้องการของผู้บริโภคบางส่วนที่ซื้อรถยนต์ในโครงการรถคันแรก (อีโคคาร์) ต้องการเปลี่ยนรถยนต์ใหม่หลังจากภาระหนี้หมดลงและรถยนต์เริ่มเสื่อมสภาพเมื่อมีอายุ 6-7 ปี
2) ค่ายรถยนต์เปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่เพื่อกระตุ้นตลาดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะรถ SUV (Sport Utility Vehicles) ซึ่งค่ายรถหันมาทำตลาดในเซ็กเมนต์ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 2,000 cc. มากขึ้น
ส่วนรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์มากกว่า 2,501 cc.หดตัว 21.1%เนื่องจากผู้บริโภคหันไปนิยมรถยนต์ที่มีขนาดเครื่องยนต์เล็กลงตามการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องยนต์ที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังขับเคลื่อนสูงขึ้น ซึ่งประหยัดพลังงานและมีราคาไม่สูง
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง
สำหรับยอดจำหน่ายรถยนต์นั่งโดยรวมช่วงเดือน ม.ค.-มี.ค. 2562 ยังเติบโต 10.8% อยู่ที่ 1.20 แสนคัน ขยายตัวดีในเกือบทุกขนาดเครื่องยนต์ ยกเว้นขนาดเครื่องยนต์ 1,801-2,000 cc.ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเทียบกับฐานสูงในช่วงเดียวกันของปีก่อนจากการเปิด
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง : ศูนย์วิจัยกรุงศรี รายงานถึงตลาดรถยนต์ในปี 2561 ว่ามีปริมาณการจำหน่าย 4.8 แสนคัน เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าเป็นอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นถึง 20.5% ส่วนใหญ่มาจากการจำหน่ายรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์ต่ำกว่า 2,500 cc.(รถยนต์นั่งขนาดเล็กขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,500 cc.รวมอีโคคาร์)ที่ขยายตัวถึง 21.6%และขนาดเครื่องยนต์1,501-2,500 cc.โตขึ้น 20.4%
โดยแรงหนุนมาจาก
1) ความต้องการของผู้บริโภคบางส่วนที่ซื้อรถยนต์ในโครงการรถคันแรก (อีโคคาร์) ต้องการเปลี่ยนรถยนต์ใหม่หลังจากภาระหนี้หมดลงและรถยนต์เริ่มเสื่อมสภาพเมื่อมีอายุ 6-7 ปี
2) ค่ายรถยนต์เปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่เพื่อกระตุ้นตลาดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะรถ SUV (Sport Utility Vehicles) ซึ่งค่ายรถหันมาทำตลาดในเซ็กเมนต์ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 2,000 cc. มากขึ้น
ส่วนรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์มากกว่า 2,501 cc.หดตัว 21.1%เนื่องจากผู้บริโภคหันไปนิยมรถยนต์ที่มีขนาดเครื่องยนต์เล็กลงตามการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องยนต์ที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังขับเคลื่อนสูงขึ้น ซึ่งประหยัดพลังงานและมีราคาไม่สูง
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง
สำหรับยอดจำหน่ายรถยนต์นั่งโดยรวมช่วงเดือน ม.ค.-มี.ค. 2562 ยังเติบโต 10.8% อยู่ที่ 1.20 แสนคัน ขยายตัวดีในเกือบทุกขนาดเครื่องยนต์ ยกเว้นขนาดเครื่องยนต์ 1,801-2,000 cc.ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเทียบกับฐานสูงในช่วงเดียวกันของปีก่อนจากการเปิด
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง : ศูนย์วิจัยกรุงศรี รายงานถึงตลาดรถยนต์ในปี 2561 ว่ามีปริมาณการจำหน่าย 4.8 แสนคัน เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาพบว่าเป็นอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นถึง 20.5% ส่วนใหญ่มาจากการจำหน่ายรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์ต่ำกว่า 2,500 cc.(รถยนต์นั่งขนาดเล็กขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,500 cc.รวมอีโคคาร์)ที่ขยายตัวถึง 21.6%และขนาดเครื่องยนต์1,501-2,500 cc.โตขึ้น 20.4%
โดยแรงหนุนมาจาก
1) ความต้องการของผู้บริโภคบางส่วนที่ซื้อรถยนต์ในโครงการรถคันแรก (อีโคคาร์) ต้องการเปลี่ยนรถยนต์ใหม่หลังจากภาระหนี้หมดลงและรถยนต์เริ่มเสื่อมสภาพเมื่อมีอายุ 6-7 ปี
2) ค่ายรถยนต์เปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่เพื่อกระตุ้นตลาดอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะรถ SUV (Sport Utility Vehicles) ซึ่งค่ายรถหันมาทำตลาดในเซ็กเมนต์ขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 2,000 cc. มากขึ้น
ส่วนรถยนต์นั่งขนาดเครื่องยนต์มากกว่า 2,501 cc.หดตัว 21.1%เนื่องจากผู้บริโภคหันไปนิยมรถยนต์ที่มีขนาดเครื่องยนต์เล็กลงตามการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องยนต์ที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังขับเคลื่อนสูงขึ้น ซึ่งประหยัดพลังงานและมีราคาไม่สูง
ตลาดรถยนต์นั่ง ขยายตัวแรงต่อเนื่อง
สำหรับยอดจำหน่ายรถยนต์นั่งโดยรวมช่วงเดือน ม.ค.-มี.ค. 2562 ยังเติบโต 10.8% อยู่ที่ 1.20 แสนคัน ขยายตัวดีในเกือบทุกขนาดเครื่องยนต์ ยกเว้นขนาดเครื่องยนต์ 1,801-2,000 cc.ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเทียบกับฐานสูงในช่วงเดียวกันของปีก่อนจากการเปิด