background
CREDIT CARD >> กลยุทธ์การตลาด บัตรเครดิต
background
สารบัญ : ข้อมูลการตลาด บัตรเครดิต (ตลาดรวม)
รายละเอียด  หน้า
 สถานการณ์การแข่งขัน 1
 Market Summary  7
     – โอกาส / อุปสรรค
 กลยุทธ์ระดับองค์กร
     อิออน 8
     กรุงศรีคอนซูเมอร์ 9
     ธนาคารกรุงเทพ 11
     ธนาคารซิตี้แบงก์ 12
     ธนาคารกสิกรไทย 13
     บัตรกรุงไทย 15
     ธนาคารไทยพานิชย์ 19
 มูลค่าตลาด ปี 2555-2559 21
 ส่วนแบ่งตลาด ปี 2555-2559 22
 ส่วนประสมทางการตลาด
     ผลิตภัณฑ์  24
     ราคา   34
     ช่องทางจัดจำหน่าย   34
     การส่งเสริมการตลาด  37
แนวโน้ม 94
ข้อมูลการตลาด  รานละเอียด จำนวนหน้า Updated ราคา
 บัตรเครดิต คลิ๊ก 94
09/10/60
650
กลยุทธ์การตลาด บัตรเครดิต

วิเคราะห์ธุรกิจสถาบันการเงิน วิเคราะห์ตลาดสถาบันการเงิน วิเคราะห์อุตสาหกรรมสถาบันการเงิน วิเคราะห์สถาบันการเงิน ส่วนแบ่งตลาดสถาบันการเงิน มูลค่าตลาดสถาบันการเงิน วิเคราะห์swotสถาบันการเงิน วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคสถาบันการเงิน วิเคราะห์stpสถาบันการเงิน วิเคราะห์5forcesสถาบันการเงิน วิเคราะห์KSFสถาบันการเงิน วิเคราะห์PESTสถาบันการเงิน วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกสถาบันการเงิน          

วิเคราะห์ธุรกิจการเงิน วิเคราะห์ตลาดการเงิน วิเคราะห์อุตสาหกรรมการเงิน วิเคราะห์การเงิน ส่วนแบ่งตลาดการเงิน มูลค่าตลาดการเงิน วิเคราะห์swotการเงิน วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคการเงิน วิเคราะห์stpการเงิน วิเคราะห์5forcesการเงิน วิเคราะห์KSFการเงิน วิเคราะห์PESTการเงิน วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกการเงิน          

วิเคราะห์ธุรกิจไฟแนนซ์ วิเคราะห์ตลาดไฟแนนซ์ วิเคราะห์อุตสาหกรรมไฟแนนซ์ วิเคราะห์ไฟแนนซ์ ส่วนแบ่งตลาดไฟแนนซ์ มูลค่าตลาดไฟแนนซ์ วิเคราะห์swotไฟแนนซ์ วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคไฟแนนซ์ วิเคราะห์stpไฟแนนซ์ วิเคราะห์5forcesไฟแนนซ์ วิเคราะห์KSFไฟแนนซ์ วิเคราะห์PESTไฟแนนซ์ วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกไฟแนนซ์          

วิเคราะห์ธุรกิจบัตรเครดิต วิเคราะห์ตลาดบัตรเครดิต วิเคราะห์อุตสาหกรรมบัตรเครดิต วิเคราะห์บัตรเครดิต ส่วนแบ่งตลาดบัตรเครดิต มูลค่าตลาดบัตรเครดิต วิเคราะห์swotบัตรเครดิต วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคบัตรเครดิต วิเคราะห์stpบัตรเครดิต วิเคราะห์5forcesบัตรเครดิต วิเคราะห์KSFบัตรเครดิต วิเคราะห์PESTบัตรเครดิต วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกบัตรเครดิต

กลยุทธ์การตลาด บัตรเครดิต

ในช่วงครึ่งปีแรก ธุรกิจบัตรเครดิตหดตัวรุนแรง สะท้อนจากยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตหดตัว 17.6% YoY และยอดคงค้างสินเชื่อหดตัว 6.3% YoY (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2563) สาเหตุหลักมาจากสถานการณ์การปิดเมืองชั่วคราวในหลายพื้นที่ของประเทศเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค COVID-19  ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ โดยเฉพาะสายการบิน โรงแรม และภัตตาคาร ฉุดความต้องการสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า ตลอดจนการคมนาคมและขนส่ง ทำให้ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรโดยรวมลดลง มีเพียงการใช้จ่ายผ่านบัตรในสินค้าบางประเภทที่ยังเติบโตได้ดี อาทิ สินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็น การใช้จ่ายเกี่ยวกับสุขภาพและประกันภัย รวมทั้งสินค้า Online delivery เป็นต้น

               ด้านจำนวนบัญชีบัตรเครดิตขยายตัวชะลอลงอยู่ที่ 3.6% YoY ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2563 จาก 6.9% ณ สิ้นปี 2562 ผลจากกำลังซื้อและความสามารถในการชำระหนี้ของผู้บริโภคที่ลดลงโดยเฉพาะผู้ประกอบการและลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบจากการปิดเมือง ทำให้สถาบันการเงินเพิ่มความระมัดระวังในการให้สินเชื่อและหันไปเน้นเจาะฐานลูกค้าบัตรรายใหม่ที่มีรายได้มากกว่า 30,000 บาท/เดือนขึ้นไป รวมถึงลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจำกัดจากสถานการณ์โรคระบาด เช่น บุคลากรทางการแพทย์ ข้าราชการ และผู้ประกอบการธุรกิจ E-commerce

               ในช่วงครึ่งปีหลัง ธุรกิจบัตรเครดิตยังซบเซาแต่มีแนวโน้มกระเตื้องขึ้นจากครึ่งปีแรก ผลจากการผ่อนคลายมาตรการปิดสถานที่และจำกัดการเดินทางในประเทศ รวมถึงมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายของภาครัฐ “เราเที่ยวด้วยกัน” “ช้อปดีมีคืน” ทำให้คาดว่าทั้งปี 2563 ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตจะหดตัว 14.8%

แนวโน้มปี 2564-2566

               ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตคาดว่าจะกลับมาเติบโตเฉลี่ย 5.7% ต่อปี ปัจจัยสนับสนุนมาจากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความนิยมชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นและการเติบโตของธุรกิจ E-commerce รวมถึงการใช้จ่ายผ่านบัตรภายในประเทศที่ปรับดีขึ้นหลังสถานการณ์โรคระบาดคลี่คลายลง อย่างไรก็ตาม ธุรกิจยังคงเผชิญกับปัจจัยลบจากรายได้และความสามารถในการชำระหนี้ของครัวเรือนที่ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา ภาระหนี้ครัวเรือนที่เพิ่มสูงขึ้น และการให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ตามมาตรการของภาครัฐ รวมถึงต้นทุนการดำเนินงานอาจเพิ่มขึ้นจากการตั้งสำรองเพื่อรองรับหนี้เสีย ตลอดจนการแข่งขันที่มีแนวโน้มรุนแรงจากทั้งผู้ให้บริการที่เป็นสถาบันการเงินและ Non-banks ปัจจัยดังกล่าว คาดว่าจะทำให้ผู้ประกอบการมุ่งปรับกลยุทธ์รองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจดังต่อไปนี้

               การเตรียมพร้อมรับมือกับคุณภาพของสินเชื่อที่ด้อยลง โดยใช้มาตรการเชิงรุกในการจัดการกับปัญหา NPLs ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

               การขยายตลาดบัตรเครดิตผ่านการชำระเงินออนไลน์ยังคงเป็นกลยุทธ์สำคัญในการเข้าถึงฐานลูกค้าในอนาคต

               การขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มที่มีศักยภาพ โดยการเน้นทำตลาดกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้สูงในภาคธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจำกัดจาก COVID-19 เพื่อลดความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อ

               การแข่งขันให้สิทธิประโยชน์ผ่านการใช้บัตร (Rewards) ยังเป็นแรงจูงใจสำคัญที่ทำให้ผู้บริโภคเลือกใช้จ่ายผ่านบัตรหลักของตน

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy

พบกับเนื้อหาของการวางกลยุทธ์การตลาด ผ่านเครื่องมือ Marketing Mix 4Ps ของแบรนด์ชั้นนำในตลาด พร้อมด้วยเนื้อหาของสภาพแวดล้อมทางการตลาดพร้อมกับการมองทิศทางของโอกาสและอุปสรรค รวมตัวเลขของขนาดตลาด (Market size) ส่วนแบ่งตลาด (Market share) ส่วนประสมทางการตลาด / กลยุทธ์ทางการตลาด ( Market Mixed / 4p’s ) และแนวโน้ม ( Trend )

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy ,พบกับข้อมูลการตลาด (Marketing)  แผนธุรกิจ การวางกลยุทธ์การตลาด (Market Mixed / 4p’s) การแข่งขัน (Market Analysis) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KEY SUCCESS FACTOR (KSF) โอกาส-อุปสรรค วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) มูลค่าตลาด (Market Size) ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share)  กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบไฟล์ MS Word มีจำนวน 9 หน้า อัพเดทล่าสุด 30/12/2564 ราคา 350 บาท จัดส่งผ่านอีเมลล์ภายใน 60 นาที สนใจรายละเอียด/สั่งซื้อ คลิ๊ก https://www.mktinfoonline.com/index.php/order-now/

ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ LINE ID : @marketinfo หรือคลิ๊กลิงก์ http://line.me/ti/p/@marketinfo

#EBOOK #แผนธุรกิจ #คู่แข่งขัน #วิจัย #กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย #อีบุ๊กธุรกิจการตลาด #อีบุ๊คธุรกิจการตลาด #วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก #PEST #โอกาสอุปสรรค #5forcesปลากระป๋อง #KeySuccessFactors #KSF #ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

background
  • บริษัท มาร์เก็ตอินโฟ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
  • 4637 เจริญราษฎร์ บางโคล่ บางคอแหลม กรุงเทพฯ10120
  • Marketing Information Service
OUR CLIENTS